|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
มาตราฐานอ้างอิง : |
|
|
ASTM D 422 – 63 |
|
มวลดินหนึ่งคิวบิตฟุตอาจประกอบด้วยเม็ดดินหลายขนาด
เช่น 10 ซม. ลงมาจนกระทั่ง 0.0002 ม.ม. ซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า
คุณสมบัติทางฟิสิกส์ของมวลดินจะขึ้นอยู่กับขนาดเม็ดดินอย่างมาก
เช่น มวลดินที่มีเม็ดใหญ่กว่าตะแกรงเบอร์ 200 ส่วนมากจะไม่มีความเหนียวหรือแรงยึดเกาะระหว่างเม็ดดิน
ซึ่งเรียกว่าดินทราย (Granular Soil) ส่วนดินที่มีส่วนประกอบเป็นเม็ดเล็กมากก็จะเรียกว่าดินเหนียว
(Cohesive Soil) นอกจากนั้นขนาดเม็ดดินยังมีอิทธิพลกับความซึมน้ำ
(Permeability), การรับแรง (Strength), อัตราการทรุดตัว
(Rate of Consolidation) และอื่นๆ อีกมาก |
|
|
|
|
Gravel , G |
Sand , S |
Silt , M |
|
|
|
|
Clay , C |
Organic , O |
|
|
|
การหาขนาดและการกระจายของเม็ดดินอาจทำได้ด้วยกันหลายวิธี
แต่ที่นิยมปฏิบัติกันแพร่หลาย คือ วิธีร่อนผ่านตะแกรง
(Sieve Analysis) ที่มีช่องขนาดต่างๆ กัน มักใช้กับดินที่มีขนาดใหญ่กว่า
0.075 ม.ม. ขึ้นไปวิธีตกตะกอนโดยใช้ไฮโดรมิเตอร์
หรือหลอดดูด (pipette) วัดการตกตะกอนเหมาะสำหรับเม็ดดินขนาด
0.2 ม.ม. ถึง 0.0002 ม.ม. ทั้งสองวิธีดังกล่าวอาจใช้ร่วมกันในการวิเคราะห์ขนาดของตัวอย่างเดียวกันได้
|
|
|
|
Sieve Analysis |
Hydrometer Analysis |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|