|
1. ประโยชน์ของ CBR คืออะไร |
|
2. การทดสอบ California Bearing Ratio,
CBR เป็นการทดสอบวัดแรงชนิดใดของดินบดอัด เหตุใดการทดสอบ
CBR จึงเหมาะสมสำหรับวัดแรงชนิดนั้น |
|
3. ในการทดสอบหาค่า CBR เหตุใดจึงต้องทำการทดลองกับดินในสภาวะ
Soaked และ Unsoaked |
|
4. ข้อแตกต่างที่ชัดเจนของค่า Soaked
CBR และ Unsoaked CBR ของดินชนิดเดียวกันคืออะไร |
|
5. ในการทดสอบ CBR แบบ Soaked และ
Unsoaked Sample ของดินชนิดเดียวกัน ได้กราฟในรูปข้างล่าง
จงระบุว่ากราฟเส้นใดเป็นของ Soaked หรือ Unsoaked
Sample เพราะเหตุใด |
|
 |
|
6. จากข้อ 5 จงหาค่า CBR ของ Soaked
และ Unsoaked Sample |
|
7. ในการก่อสร้างถนนแห่งหนึ่งดินที่นำมาสร้างถนนผ่านการบดอัดในสนามจนได้ความหนาแน่นเปียกและแห้ง
เหมือนกับในห้อง Lab ทุกประการ (100% Modified Proctor)
ถ้านิสิตสามารถนำ Piston ที่ใช้กดตัวอย่างดิน ในการหาค่า
CBR ในห้อง Lab มาทำการทดสอบหาค่า CBR ของดินในสนาม
(ดังในรูปด้านล่าง) ค่า Unsoaked CBR ที่ได้จากการทดสอบในสนามจะมีค่ามากกว่าหรือน้อยกว่าหรือเท่ากับ
Unsoaked CBR ที่ได้จากห้อง Lab เพราะเหตุใด |
|
 |
|
8. ชั้น Base ของถนน ควรมีค่า CBR
เท่าใด |
|
9. ชั้น Base ของถนนคอนกรีต (Rigid
Pavement) ควรมี CBR สูงหรือต่ำกว่า
ชั้น Base ของถนนลาดยาง (Flexible Pavement) เพราะเหตุใด
|
|
10. ในการทดลองเรื่อง CBR ค่า Load
มาตรฐานที่ระยะจม 0.1 นิ้ว คืออะไร และที่ระยะจม
0.2 นิ้ว คืออะไร |
|
11. จากการทดลองหาค่า CBR ของดินชนิดหนึ่ง
ถ้า load ที่ระยะจม 0.1 นิ้ว และ 0.2 นิ้ว มีค่าเป็น
200 และ 330 psi ตามลำดับ ดินชนิดนี้มีค่า CBR เท่ากับเท่าใด |
|
12. จงเปรียบเทียบค่า CBR ของ 1.ดินเหนียว
2.ทราย 3.ดินลูกรัง และ 4.หินคลุก ตามตัวอย่างที่ท่านได้ทำการทดลอง
โดยเรียงลำดับจากค่า CBR มากไปหาน้อย |
|
13. เมื่อใดควรจะมีการปรับแก้ CBR
Curve และการปรับแก้นั้นทำอย่างไร |