หน้าหลัก
เบื้องหลักการถ่ายทำ
 
         ผลที่ได้จากการทดลองขั้นต้น จะประกอบด้วยข้อมูลการทรุดตัวเนื่องจากน้ำหนักต่างๆ กันและข้อมูล ความหนาแน่น และความชื้น ก่อน-หลังการทดลอง การวิเคราะห์ข้อมูลให้ทำดังนี้
         1. หา t90 โดยการเขียนกราฟระหว่าง Dial reading และ จะมีช่วงแรกของการทรุดตัวที่ใกล้เคียงเส้นตรง แล้วค่อยๆ เอียงลาดลงดังตัวอย่างในรูปที่ 4 ให้วัดจากแกนตั้งถึงเส้นตรงแล้วขยายออกไปตามแนวนอนอีก 0.15 เท่าแล้วลากเส้นตรงเส้นที่ 2 ผ่านจุดนั้นไปตัดเส้นกราฟจากการทดลอง จุดนั้นคือ จุดของการเกิด Consolidation ไป 90% โดยประมาณจากวิธีของ Taylor นำไปคำนวณหา, Cv
         2. คำนวณหา Consolidation Pressure
เมื่อ  P = Consolidation pressure
  W = น้ำหนักจริงที่วางบน Loading frame
  K = ค่าการขยายน้ำหนักที่กระทำบนตัวอย่าง
    = 10 หรือจะบ่งไว้ที่คู่มือของ consolidometer แต่ละเครื่อง
  A = พื้นที่รับน้ำหนักของตัวอย่างดิน
         3. คำนวณหา Void ratio
         Void ratio เมื่อเริ่มทดลอง, eo ซึ่งเท่ากับ
เมื่อ  HT = ความสูงของตัวอย่างดิน
  Hs = ความสูงของเนื้อดิน (Height of Solid)
เมื่อ  Wi = initial wt. of sample
  Wi = average initial water content
  G = specific gravity of soil
  = unit wt. of water
         - Void ratio ภายหลังการเพิ่มน้ำหนักใดๆ
          = ผลบวกการทรุดตัวจากเริ่มการทดลอง
         Hs = ความสูงของเนื้อดิน
         4. เขียนกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง ei และ p, Cv และ p ลงบนกราฟ Sime - log
         5. การหา Cc, จะคำนวณได้จาก slope ของช่วง Vergin consolidation ซึ่งใกล้เคียงเส้นตรงโดย
         6.การหา pm (maximum past pressure) เป็นความดันสูงสุดซึ่งตัวอย่างดินเคยถูกกดทับมาในอดีต ดังรายละเอียดในรูปที่ 3
รูปที่ 3 การหาจุด Maximum Past Pressure
เมนูหลักแบบทดสอบก่อนเรียนบทนำทฤษฎีเครื่องมือและอุปกรณ์วิธีการทดลองการคำนวณผลการทดลองแบบทดสอบหลังเรียน 
เชิดพันธุ์ อมรกุล และ ผศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์
ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก  ภาควิชาวิศวกรรมโยธา   คณะวิศวกรรมศาสตร์   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์