HomeAbout usNewsPaperPresentationLibraryGraduate School at KU
วรากร ไม้เรียง
ก่อโชค จันทวรางกูร
ศุภกิจ นนทนานันท
ประทีป ดวงเดือน
สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์
บารเมศ วรรธนะภูติ
อภินิติ โชติสังกาศ
ทวีศักดิ์ จิรธนถาวร
 
 
 
 
 
วรากร ไม้เรียง
ชื่อ-สกุล : วรากร ไม้เรียง
Name : Warakorn Mairaing
ตำแหน่งทางวิชาการ : รองศาสตราจารย์ (Assoc. Prof.)
Program Area : Geotechnical Engineerin
   
Office : E 12106
Email : fengwkm@ku.ac.th
Telephone : 02-579-7565 Ext. 1301
   
Area of Interest :
  • Dam Design Engineer
  • Dam Instrumentation Specialist
  • Geotechnical Engineering
  • Foundation and Ground Improvement
  • Land Reclamation and Dredging
  • Stability of Earth Slope
  •    
    Education :
  • Ph.D. in Soil Engineering, Iowa State University, 1978
  • M.Eng. in Geotechnical Engineering, Asian Institute of Technology, 1973
  • B.Eng. (Hons.) in Civil Engineering, Khon Kaen University, 1971
  • Work Experience :
  • งานออกแบบและก่อสร้างเขื่อน
  • งานฐานรากอาคาร ปรับปรุงดินอ่อน งานคลอง
  • งานวิจัยด้านภัยธรรมชาติดินถล่ม
  • งานออกแบบและควบคุมงานก่อสร้าง โครงสร้างพื้นฐานทางวิศวกรรมโยธา
  • Past Research :
  • โครงการติดตามและประเมินผลแผนแก้ไขและพัฒนาสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนคลองท่าด่านอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จ.นครนายก (การวิจัยพฤติกรรมของเขื่อนในระหว่างก่อสร้างและเก็บกักน้ำ) กรมชลประทาน
  • โครงการวิจัย “การศึกษาพฤติกรรมของดินถล่มในจังหวัดภูเก็ต” สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
    โครงการศึกษาผลกระทบจากการแก้ไขปัญหาการใช้น้ำบาดาลเกินปริมาณสมดุลด้วย แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ กรมทรัพยากรน้ำบาดาล
  • โครงการวิจัย “ระบบผู้เชี่ยวชาญสำหรับการป้องกันและแก้ไขการพิบัติของลาดดิน” สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
  • โครงการวิจัย "การพัฒนาแผนหลักการจัดการภัยธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินถล่ม" สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย
  • โครงการวิจัย “การศึกษาแผ่นดินถล่มและการแก้ไขที่ยั่งยืน” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • โครงการวิจัย “ระบบผู้เชี่ยวชาญเพื่อการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดิน” สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
  • Current Research :
  • โครงการการติดตั้งเครื่องมือวัดพฤติกรรมเขื่อนน้ำงึม 2 ประเทศลาว / บริษัท ช.การช่าง (ลาว) จำกัด
  •    
    Selected Publication :
    หนังสือและตำรา
    o “การตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อน”, พ.ศ. 2550. ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    o “หน่วยที่ 12 งานเขื่อน”. เอกสารการสอนชุดวิชา เทคนิคการก่อสร้างขนาดใหญ่ สาขาวิชาวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. 2546.
    o “คู่มือการวัดพฤติกรรมเขื่อนดิน”, 2538. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา และโครงการซ่อมแซมและปรับปรุงเขื่อนมูลบน กรมชลประทาน, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    o “วิศวกรรมเขื่อนดิน”, 2541, พิมพ์ครั้งที่ 2, ไลบรารี่ นาย. จก.
    o “วิศวกรรมฐานราก” 2526, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    o วรากร ไม้เรียง, จิรพัฒน์ โชติกไกร และประทีป ดวงเดือน. 2525, “ปฐพีกลศาสตร์ ทฤษฎีและปฏิบัติการ”. ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
    o วรากร ไม้เรียง และคณะ. 2550. การตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อน. ตำราภายใต้โครงการการอ่านค่า วิเคราะห์ผล และถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องมือวัดพฤติกรรมภายหลังการก่อสร้างโครงการเขื่อนคลองท่าด่านฯ จังหวัดนครนายก. เสนอกรมชลประทาน. จัดทำโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2550
    o รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการอ่านค่า วิเคราะห์ผล และถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องมือวัดพฤติกรรมภายหลังการก่อสร้างโครงการเขื่อนคลองท่าด่านฯ จังหวัดนครนายก. เสนอกรมชลประทาน. จัดทำโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2550.
    o วรากร ไม้เรียง และคณะ. 2546, โครงการ จัดทำแผนที่แสดงโอกาสเกิดแผ่นดินถล่ม โดยพิจารณาจากปัจจัยที่ไม่คงที่พื้นที่ศึกษาภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน (Landslide Hazard Zoning Map by Dynamic Factors in Andaman Coastal Area of Thailand), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, กรกฎาคม 2550.
    o ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก, รายงานการศึกษา โครการการอ่านค่า วิเคราะห์ผล และถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องมือวัดพฤติกรรม ภายหลังการก่อสร้าง โครงการเขื่อนคลองท่าด่านอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนครนายก, กรมชลประทาน, 30 เมษายน 2550.
    o วรากร ไม้เรียง และคณะ. 2546, การศึกษาพฤติกรรมของดินถล่มในจังหวัดภูเก็ต, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ตุลาคม 2549.
    o วรากร ไม้เรียง และคณะ. 2546, การพัฒนาแผนหลักการจัดการภัยธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินถล่ม, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, มิถุนายน 2546.
    o วรากร ไม้เรียง และคณะ. “ระบบผู้เชี่ยวชาญเพื่อการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดิน”, สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย, ธ.ค. 2543.
    o “โครงการปรับปรุงเขื่อนลำแชะ”, รายงานฉบับสุดท้าย งานที่ปรึกษา โครงการปรับปรุงเขื่อนลำแชะ อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชมา, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ก.ค. 2540.
     
    ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์
    1. บทความ
    - Apiniti Jotisankasa, Warakorn Mairaing, Akihiro Takahashi andTomohide Takeyama. BEHAVIOUR OF A SOIL SLOPE SUBJECTED TO HEAVY RAINFALL IN THAILAND: MONITORING AND WARNING SYSTEM FOR LANDSLIDES. 3rd JSPS-DOST International Symposium on Environmental Engineering (Symposium on Harmonoizing Infrastructure Development with the Environment), University of the Philippines Diliman, Tokyo Institute of Technology and Kasetsart University, (7 March 2009)
    - Seepage Analyses and Monitoring of Khlong Tha Dan Dam. GEO-CHIANGMAI 2008 An International onference on Geotechnical Engineering Focusing on New Developments in Soil & Rock Engineering, Engineering Geology & Environmental Geotechnique December 10-12, 2008 at Centara Chiangmai, Thailand.
    - “Bangkok Area Soil Engineering Database”. CAFEO26 (26th Conference of the ASEAN Federation of Engineering Organization). November 26-29 2008 at Sofitel Centara Grand Hotel, Thailand.
    - Landslide Problems and Warning by Geotechnical Methods. CAFEO26 (26th Conference of the ASEAN Federation of Engineering Organization). November 26-29 2008 at Sofitel Centara Grand Hotel, Thailand.
    - Landslide Monitoring and Modeling in Phuket Area. Eit-JSCE Joint International Symposium “Monitoring & Modeling in Geo-Engineering”, September 15-16, 2008, Imperial Queen’s Park Hotel, Bangkok, Thailand, Sponsored by Japanese Society of Civil Engineers and EIT.
    - บทบาทของคณะวิศวกรรมศาสตร์เกษตรฯ กับงานเขื่อน. หนังสือดงตาลสัมพันธ์’51. สมาคมนิสิตเก่าวิศวกรรมเกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เนื่องในวโรกาส ครบรอบ 70 ปี การก่อตั้งคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
    - สมพงษ์ โรจน์กังสดาล และ วรากร ไม้เรียง “คุณสมบัติดินที่มีผลต่อการก่อสร้างเสาเข็มดิน-ซีเมนต์ ในโครงการระบายน้ำบริเวณสนามบินสุวรรณภูมิ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 13. โรงแรมจอมเทียน ปาล์ม บีช พัทยา ระหว่างวันที่ 14-16 พฤษภาคม 2551
    - Landslide monitoring-system in Thailand. EIT-JSCE Joint Seminar on Rock Engineering 2007 Imperial Queen’s Park Hotel, September 17,2007
    - Warakorn Mairaing, Chinoros Thongthamchart and Nattapol Chaisiwamongkol, 2007. "Performance of Seepage Control System in the Largest RCC Dam in Thailand", Deutsches Talsperrensymposium in Freising, 2007, "Talsperren in Europa - Aufgaben und Herausforderungen". (www.talsperrenkomitee.de/freising2007)
    - ดินถล่มภัยพิบัติธรรมชาติที่ใกล้ตัว, วิศวกรรมสาร, ปีที่ 59 ฉบับที่ 4 เดือนกรกฎาคม-สิงหาคม 2549.
    - “Landslide Problems and Warning by Geotechnical Methods”. 5th International Symposium on New Technology for Urban Safety of Mega Cities in Asia, Phuket, Thailand, 16-17 November 2006. Organized by Asian Institute of Technology (AIT).
    - “ความสัมพันธ์ของผลการสำรวจธรณีฟิสิกส์ในหลุมเจาะกับคุณสมบัติดินเหนียวระดับลึก ในพื้นที่กรุงเทพฯ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 11 ณ เมอร์ลิน บีช รีสอร์ท ป่าตอง จ.ภูเก็ต, 20-22 เมษายน 2549.
    - “การวิเคราะห์ค่าการทรุดตัวของชั้นดินเหนียวเนื่องจากการลดระดับของน้ำบาดาลด้วยวิธีไฟไนท์ดิฟเฟอเร้นท์”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 11 ณ เมอร์ลิน บีช รีสอร์ท ป่าตอง จ.ภูเก็ต, 20-22 เมษายน 2549.
    - “การประเมินค่าโมดูลัสยืดหยุ่นของหินฐานรากเขื่อนคลองท่าด่านฯ โดยการทดสอบ Schmidt Hammer” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 10 ณ โรงแรม แอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จ.ชลบุรี, 2-4 พฤษภาคม 2548.
    - “คุณสมบัติการยุบอัดตัวคายน้ำของดินเหนียวกรุงเทพระดับลึก” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 10 ณ โรงแรม แอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จ.ชลบุรี, 2-4 พฤษภาคม 2548.
    - “การวิเคราะห์ตะกอนดินและหินที่เกิดจากการพิบัติของลาดเขา” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 10 ณ โรงแรม แอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จ.ชลบุรี, 2-4 พฤษภาคม 2548.
    - วรากร ไม้เรียง และ สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ “การวิเคราะห์ความเสี่ยงของเขื่อนในประเทศไทย” Geo- Risk Engineering & Management , EIT-JAPAN-AIT Joint Workshop Tuesday 27 September 2005, Bangkok, Thailand
    - “ความแข็งแรงของดินไม่อิ่มตัวเพื่อการวิเคราะห์ความมั่นคงของลาดเขา” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 9 ณ โรงแรมรีเจ้นท์ ชะอำ จ.เพชรบุรี, 19-21 พฤษภาคม 2547
    - “Landslide Hazard Zoning”, Seminar and Workshop on Geoenvironmental Engineering Georisk/ Mass Movements., ส.ค. 2546
    - “MONITORING THE LARGEST RCC DAM IN THAILAND : KHONG THA DAN DAM” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ณ โรงแรมโซฟิเทลราชาออร์คิด จ.ขอนแก่น, 23-25 ตุลาคม 2545
    - “การวิเคราะห์การไหลซึมผ่านฐานรากของเขื่อนคลองท่าด่าน”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ณ โรงแรมโซฟิเทลราชาออร์คิด จ.ขอนแก่น, 23-25 ตุลาคม 2545
    - “การประเมินการแก้ไขการพิบัติของลาดดิน : กรณีศึกษาริมตลิ่งแม่น้ำบางปะกงและลุ่มน้ำก้อ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ณ โรงแรมโซฟิเทลราชาออร์คิด จ.ขอนแก่น, 23-25 ตุลาคม 2545
    - “การจำลองลักษณะของรากพืชเพื่อการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดิน”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 8 ณ โรงแรมโซฟิเทลราชาออร์คิด จ.ขอนแก่น, 23-25 ตุลาคม 2545
    - “การวิเคราะห์การไหลซึมน้ำของเขื่อนโดยวิธีไฟไนท์อีลิเมนต์”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 7 ณ อาคารศศปาฐศาลา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กรุงเทพฯ. 17-18 พฤษภาคม 2544
    - “การประเมินความปลอดภัยของเขื่อนโดยระบบดัชนีสภาพ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ณ โรงแรม ดุสิตรีสอร์ท แอนด์ โปโลคลับ ชะอำ จ.เพชรบุรี, 10-12 พฤษภาคม 2543
    - “ฐานข้อมูลการเคลื่อนพังของลาดดินในประเทศไทย”, ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ณ โรงแรม ดุสิตรีสอร์ท แอนด์ โปโลคลับ ชะอำ จ.เพชรบุรี, 10-12 พฤษภาคม 2543
    - “การศึกษาเปรียบเทียบโปรแกรมวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดิน”, ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ณ โรงแรม ดุสิตรีสอร์ท แอนด์ โปโลคลับ ชะอำ จ.เพชรบุรี, 10-12 พฤษภาคม 2543
    - “พฤติกรรมทางด้านแรงดันน้ำและการเคลื่อนตัวของเขื่อนดิน”, ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ณ โรงแรม ดุสิตรีสอร์ท แอนด์ โปโลคลับ ชะอำ จ.เพชรบุรี, 10-12 พฤษภาคม 2543
    - “แบบจำลอง Centrifuge ในงานวิศวกรรมธรณี”, ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 6, ณ โรงแรม ดุสิตรีสอร์ท แอนด์ โปโลคลับ ชะอำ จ.เพชรบุรี, 10-12 พฤษภาคม 2543
    - “Monitoring the Largest RCC Dam in Thailand : Khlong Tha Dan Dam”, Warakorn Mairaing and Yves Felix, Proceedings of the Third Regional Symposium on Infrastructure Development in Civil Engineering, December 2000.
    - “เทคนิคการปรับแก้ข้อมูลที่อ่านค่าจากเครื่องมือตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อนมูลบน”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 5 ณ โรงแรม แอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จ.ชลบุรี, 24-26 มีนาคม 2542
    - “ระบบฐานข้อมูลเขื่อนดินเพื่อประเมินความปลอดภัยโดยวิธีดัชนีสภาพ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 5 ณ โรงแรม แอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จ.ชลบุรี, 24-26 มีนาคม 2542
    - “ลักษณะทางธรณีเทคนิคของการเคลื่อนที่ของลาดดินเนื้อเดียวตามธรรมชาติ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 5 ณ โรงแรม แอมบาสซาเดอร์ซิตี้ จอมเทียน พัทยา จ.ชลบุรี, 24-26 มีนาคม 2542
    - “Land Reclamation on Soft Clay : Cases Study in Thailand” Seminar on Urban and Traffic Engineering and Geotechnical Engineering in Delta Areas, Faculty of Engineering Thammasat University, Thailand, March 1996
    - “การประเมินความปลอดภัยและตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อน”, การประชุมใหญ่ทางวิชาการประจำปี 2539 จัดโดยสมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปภัมภ์ 15-18 ส.ค. 2539.
    - “Seepage Analysis of Mun Bon Dam by Finite Element Method”. Proceedings of the Regional Symposium on Infrastructure Development in Civil Engineering, Bangkok, December 1995
    - “Ratio of Vertical to Horizontal Permeabilities of Compacted Soils”. Proceedings for the Second Joint Seminar on Civil Engineering between Department of Civil Engineering Tokyo Institute of Technology and Kasetsart University, Tokyo, March 1993
    - “Earth Dam Behaviors Observed by Dam Instruments”. Proceedings for the First Joint Seminar on Civil Engineering between Department of Civil Engineering Kasetsart University and Tokyo Institute of Technology, August 1992
    - “ความเชื่อถือได้ของผลการทดสอบความหนาแน่นและความชื้น และการควบคุมการบดอัดโดยใช้สถิติ”. วารสารวิศวกรรมโยธาและก่อสร้าง มก. ปีที่ 4 ฉบับที่ 1 เม.ย. 2532
    - “ปัจจัยที่มีผลต่อกำลังของดินบดอัดเขื่อนห้วยปะทาว”. ร่วมกับนายบุญรอด คุปติทัฬหิ วารสารวิศวกรรมโยธาและก่อสร้าง มก. ปีที่ 4 ฉบับที่ 2 ส.ค. 2532
    - “เครื่องมือวัดความหนาแน่นและความชื้นของดินโดยวิธีนิวเคลียร์” วารสารวิศวกรรมโยธาและการก่อสร้าง มก. ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 ธ.ค. 2531
    - “Behaviors of Mae Ngud and Mae Kuang Dams During Construction” Symposium on Geotechnical Aspects of Restoration and Maintenance of Infra-structures and Historical Monument, Imperial Hotel, Bangkok, 1988.
    - “คุณสมบัติการทรุดตัวของดินบางเขน” บทความวิจัยเสนอในการประชุมวิชาการประจำปี ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2530
    - “การเลือกใช้อัตราส่วนปลอดภัยในการออกแบบความมั่นคงของเขื่อนดิน” วารสารวิศวกรรมโยธาและก่อสร้าง มก. ปี 2 ฉบับที่ 2, 2530
    - “แนวการออกแบบและก่อสร้างเขื่อนถมในปัจจุบัน ตอนที่ 1-3” วารสารวิศวกรรมโยธาและก่อสร้าง มก. ปีที่ 1 ฉบับที่ 1-3 (ถอดความจากภาษาอังกฤษ), 2529
    - “การวัดพฤติกรรมเขื่อนด้วยเครื่องมือวัด” วารสารวิศวกรรมโยธาและการก่อสร้างฉบับที่ 1 ปี, 2527
     

    2. รายงานการวิจัย
    - วรากร ไม้เรียง และคณะ. 2550. การตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อน. ตำราภายใต้โครงการการอ่านค่า วิเคราะห์ผล และถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องมือวัดพฤติกรรมภายหลังการก่อสร้างโครงการเขื่อนคลองท่าด่านฯ จังหวัดนครนายก. เสนอกรมชลประทาน. จัดทำโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2550
    - รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการอ่านค่า วิเคราะห์ผล และถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องมือวัดพฤติกรรมภายหลังการก่อสร้างโครงการเขื่อนคลองท่าด่านฯ จังหวัดนครนายก. เสนอกรมชลประทาน. จัดทำโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2550.
    - วรากร ไม้เรียง และคณะ. 2546, โครงการ จัดทำแผนที่แสดงโอกาสเกิดแผ่นดินถล่ม โดยพิจารณาจากปัจจัยที่ไม่คงที่พื้นที่ศึกษาภาคใต้ฝั่งทะเลอันดามัน (Landslide Hazard Zoning Map by Dynamic Factors in Andaman Coastal Area of Thailand), สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, กรกฎาคม 2550.
    - ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก, รายงานการศึกษา โครการการอ่านค่า วิเคราะห์ผล และถ่ายทอดความรู้ด้านเครื่องมือวัดพฤติกรรม ภายหลังการก่อสร้าง โครงการเขื่อนคลองท่าด่านอันเนื่องมาจากพระราชดำริ จังหวัดนครนายก, กรมชลประทาน, 30 เมษายน 2550.
    - วรากร ไม้เรียง และคณะ. 2546, การศึกษาพฤติกรรมของดินถล่มในจังหวัดภูเก็ต, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, ตุลาคม 2549.
    - วรากร ไม้เรียง และคณะ. 2546, การพัฒนาแผนหลักการจัดการภัยธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับแผ่นดินถล่ม, สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, มิถุนายน 2546.
    - วรากร ไม้เรียง และคณะ. “ระบบผู้เชี่ยวชาญเพื่อการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดิน”, สำนักงานกองทุนสนับสนุนงานวิจัย, ธ.ค. 2543.
    - “โครงการปรับปรุงเขื่อนลำแชะ”, รายงานฉบับสุดท้าย งานที่ปรึกษา โครงการปรับปรุงเขื่อนลำแชะ อำเภอครบุรี จังหวัดนครราชมา, คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ก.ค. 2540.

    Awards and Scholarships :
  • อาจารย์ดีเด่นด้านการเรียนการสอน ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2551
  •  
  • อาจารย์ดีเด่นด้านบริการวิชาการ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2551
  • รางวัลศาสตราจารย์ ดร.ชัย มุกตพันธ์ ครั้งที่ 1 วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ (ว.ส.ท.) และมูลนิธีศาสตราจารย์ ดร.ชัย มุกตพันธ์ 21 ก.พ. 2550
  • รางวัล The ASEAN Outstanding Engineering Achievement - Contribution Award 2008. ASEAN Federation of Engineering Organization (AFEO) 28 พฤศจิกายน 2551
  • รางวัลผลงานวิจัยตีพิมพ์ดีเด่น การประชุมวิชาการ มก. ครั้งที่ 42 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 1 สิงหาคม 2549
  • Course Taught :
  • 203352 Soil Mechanics
  • 203354 Foundation Design
  • 203454 Computer Applications in Geotechnical Engineering
  • 203552 Advanced Soil Mechanics
  • 203553 Design of Earth and Rock-fill Dam
  • 203557 Geotechnical Engineering Projects
  • 203545 Risk Assessment of Geo. Eng. Structures
  •