|
|
|
|
|
|
|
|
|
ชื่อ-สกุล : |
อภินิติ โชติสังกาศ |
Name : |
Apiniti Jotisankas |
ตำแหน่งทางวิชาการ : |
อาจารย์ (Lecturer) |
Program Area : |
Geotechnical Engineering |
|
|
Office : |
Advanced Geotechnical Lab |
Email : |
fengatj@ku.ac.th, apiniti@hotmail.com |
Telephone : |
02-579-7565 Ext. 1312 |
|
|
|
Area of Interest : |
Unsaturated soil mechanics
Constitutive modeling
Innovations in geotechnical laboratory and field testing
Environmental Geotechnics
|
|
|
Education : |
Ph.D (Geotechnical Engineering), Imperial College London
(2005)
M.Sc (Soil Mechanics and Environmental Geotechnics with
Distinction), Imperial College London
(2001)
B.Eng (Civil Engineering with 1st class honour), Kasetsart
University (1999) |
|
|
Work Experience : |
อาจารย์ประจำ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ตั้งแต่วันที่ 1 เดือน ธันวาคม พ.ศ 2548 ถึงปัจจุบัน
คณะกรรมการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรม คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ พ.ศ. 2550- ปัจจุบัน)
เลขานุการภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ (ตั้งแต่ เมษายน พ.ศ. 2551- ปัจจุบัน)
อนุกรรมการและเลขานุการ สาขาวิศวกรรมปฐพี ในคณะกรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ประจำปี 2553
(2001-2004) Teaching assistant, Soil Mechanics Section, Department of
Civil and Environmental Engineering, Imperial College London
(1999-2000) Research Engineer, Geotechnical Engineering Research and
Development (GERD) Center, Kasetsart University |
|
|
Research : |
หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาระบบตรวจวัดพฤติกรรมดินถล่มอัตโนมัติ” โดยทุนของสถาบันวิจัยมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (2551-2552)
หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมทางกลศาสตร์ของดินไม่อิ่มน้ำในประเทศไทย” โดยทุนพัฒนาศักยภาพในการทำงานวิจัยของอาจารย์รุ่นใหม่ จาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (2549-2551)
หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง “การพัฒนาเครื่องมือตรวจวัดแผ่นดินถล่มอัตโนมัติ” โดย ทุนอุดหนุนการวิจัยวิศวกรรมศาสตร์ มก. (2549-2551)
หัวหน้าโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาโอกาสการเกิดแผ่นดินถล่ม เนื่องจากฝนตก โดยใช้ค่าดัชนีความชุ่มชื้นของดิน (API) ร่วมกับทฤษฎีกลศาสตร์ของดินไม่อิ่มน้ำ” โดย ทุนวิจัยตามความร่วมมือ Thai-UK จาก สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (2549-2550)
หัวหน้าโครงการวิจัยกลุ่มย่อยเรื่อง “การศึกษาสภาวะความชุ่มชื้นดินวิกฤตที่เกิดน้ำท่วม-ดินถล่มสูง ด้วยลักษณะการซึมผ่านผิวดินของน้ำในบริเวณลุ่มน้ำเจ้าพระยาตอนบน” งบประมาณของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ภายใต้โครงการวิจัยและพัฒนาระบบบูรณการเชิงพลวัตข้อมูลภูมิประเทศ อุทกวิทยาเพื่อการจัดการทรัพยากรน้ำแบบพอเพียงและยั่งยืนในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยา (2550-2551)
ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาเพื่อหาแนวทางในการแก้ปัญหาดินกระจายตัวบริเวณอ่างเก็บน้ำและถนนภายใน มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร” ร่วมกับ รศ.ดร. ศุภกิจ นนทนานันท์ งบประมาณของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร (2549)
ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมการเกิดน้ำท่วม-ดินถล่ม ในพื้นที่ต้นแบบเพื่อสร้างแบบจำลอง สำหรับกำหนดเกณฑ์และวิธีการในการเตือนภัย” ร่วมกับ ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งบประมาณของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาต ิ(2550-2551)
ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง “การศึกษาพฤติกรรมทางกลศาสตร์ของดินไม่อิ่มตัวที่มีผลต่อกำลังรับแรงฐานรากอาคาร กรณีศึกษาอาคารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร” ร่วมกับ อ.ก้องรัฐ นกแก้ว งบประมาณของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร (2550-2551)
ที่ปรึกษาโครงการวิจัยเรื่อง “การตรวจวัดพฤติกรรมดินถล่ม และแนวทางการป้องกัน กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย” ร่วมกับ นางสาวฐิติพร พันธุ์ท่าช้าง หัวหน้าโครงการ สังกัด คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา โดยทุนสนับสนุนของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551
ผู้ร่วมวิจัยโครงการวิจัยเรื่อง “การปรับปรุงการออกแบบและมาตรฐานโครงสร้างปรับการทรุดตัวบริเวณคอสะพาน” ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2551 |
|
|
งานบริการวิชาการ |
ผู้เชี่ยวชาญด้านกลศาสตร์ของดิน โครงการกำหนดค่าดัชนีความชุ่มชื้นของดิน (Antecedent Precipitation Index: API) เพื่อการเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลัน-ดินถล่ม ดำเนินการโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งบประมาณของ กรมทรัพยากรน้ำ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปี 2549-2550
หัวหน้ากลุ่มงานตรวจวัดพฤติกรรมของลาดดิน โครงการศึกษาความเสถียรของลาดชัน
ในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง ดำเนินการโดย ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งบประมาณของ กองธรณีวิทยาสิ่งแวดล้อม กรมทรัพยากรธรณี ปี 2550-2551
หัวหน้าโครงการอบรมระดับนานาชาติ Rural Infrastructure Development Planning and Management ให้แก่ผู้เข้าอบรมจาก 14 ประเทศ ระหว่างวันที่ 16 กุมภาพันธ์ ถึง 6 มีนาคม 2552 โดยงบประมาณของ สำนักงานความร่วมมือเพื่อการพัฒนาระหว่างประเทศ (TICA) กระทรวงการต่างประเทศ
อาจารย์พิเศษสอนวิชา วิศวกรรมปฐพีสิ่งแวดล้อม (01203456) ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร ภาคปลาย ปีการศึกษา 2549 และ 2550
คณะกรรมการดำเนินงาน โครงการปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมโครงสร้างพื้นฐานและการบริหาร (สำหรับวิศวกรอาชีพระดับบริหาร) ภาคพิเศษ (มกราคม 2550 ถึง กุมภาพันธ์ 2552)
ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาเครื่องมือตรวจวัดความชื้นในดินเพื่อการเตือนภัย ในโครงการวิจัยเรื่อง “โครงการบูรณาการระบบช่วยตัดสินใจ (DSS) และถ่ายทอดแบบจำลองของโครงการวิจัย GAME-T และระบบเตือนภัยน้ำท่วมฉับพลันแผ่นดินถล่มและภัยแล้งไปสู่ชุมชนในพื้นที่ลุ่มน้ำเจ้าพระยาโดยกระบวนการมีส่วนร่วมและการใช้บริการเพื่อการจัดการทรัพยากรในมิติของชุมชน เพื่อการจัดการทรัพยากรในลุ่มน้ำเจ้าพระยาอย่างยั่งยืน” โดย ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งบประมาณของ สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ปี 2551
ผู้ปฏิบัติการร่วมโครงการทดสอบวัสดุ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
คณะทำงานรวบรวมข้อมูลเบื้องต้น ในเรื่องของภาวะดินถล่มซ้ำซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้อีกในเขตจังหวัดสุโขทัยและจังหวัดอุตรดิตถ์ ในระหว่างวันที่ 7-9 ตุลาคม พ.ศ. 2549 เพื่อเสนอต่อมูลนิธิอาสาเพื่อนพึ่ง (ภาฯ) ยามยาก สภากาชาดไทย
วิทยากรรับเชิญรายการหนึ่งในพระราชดำริเรื่อง “ภัยดินถล่ม” ออกอากาศทางช่อง โมเดิร์นไนน์ วันที่ 22 เมษายน พ.ศ. 2549
วิทยากรรับเชิญรายการหนึ่งในพระราชดำริเรื่อง “ดินถล่ม...มหันตภัยฤดูฝน” ออกอากาศทางช่องโมเดิร์นไนน์ วันที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2549
วิทยากรรับเชิญรายการหนึ่งในพระราชดำริเรื่อง “ดินถล่ม รู้ไว้ก่อนภัยเกิด” ออกอากาศทางช่องโมเดิร์นไนน์ วันที่ 28 กรกฎาคม 2550
วิทยากรรับเชิญรายการหนึ่งในพระราชดำริเรื่อง “เตือนภัยดินถล่ม” ออกอากาศทางช่องโมเดิร์นไนน์ วันที่ 3 พฤษภาคม 2551
วิทยากรรับเชิญรายการความรู้คือประทีป เรื่องดินถล่ม ออกอากาศทางช่อง NBT ปีพศ. 2551
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความของวารสาร Geotechnique โดยสำนักพิมพ์ Thomas Telford, Institution of Civil Engineers ประเทศอังกฤษ ปี 2550
กรรมการดำเนินงานและผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความงานประชุมวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46 ปีพ.ศ. 2551 และ ครั้งที่ 47 ปี พ.ศ. 2552
วิทยากรให้ความรู้กับคณะครูโรงเรียนทอสี เรื่อง “ศาสตร์ของดิน” วันที่ 18 สิงหาคม 2550
คณะที่ปรึกษา โครงการ “ร่างคู่มือการแปลผลคุณสมบัติของดินและหิน ที่ใช้ในการออกแบบทางวิศวกรรมงานทาง” โดย สำนักวิจัยและพัฒนางานทาง กรมทางหลวง งบประมาณปี 2551
วิทยากรในหัวข้อเรื่อง “การตรวจวัดพฤติกรรมลาดดินในพื้นที่เสี่ยงภัยดินถล่ม” ในการประชุมสัมมนา สถานการณ์และการป้องกันภัยพิบัติจากดินถล่มในประเทศไทย 25-26 กุมภาพันธ์ 2552 จังหวัดอุตรดิตถ์ จัดโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยากรในหัวข้อเรื่อง “การเตือนภัยทางตรงด้วยอุปกรณ์วัดพฤติกรรมดินถล่ม” การอบรมเรื่อง “การศึกษาด้านวิศวกรรมดินถล่ม” ในโครงการพัฒนาวิชาชีพวิศวกรรมอย่างต่อเนื่องในงานวิศวกรรมแห่งชาติ 2552 จัดโดยสภาวิศวกรและวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ในวันที่ 23 เมษายน 2552 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมนานาชาติกรุงเทพฯ (BITEC) บางนา (ได้รับรองจากสภาวิศวกรให้มีจำนวนหน่วยพัฒนา 1.5 หน่วย รหัสกิจกรรม 708-01-3001-00/5204
ผู้เชี่ยวชาญด้านการตรวจวัดพฤติกรรม โครงการศึกษาและตรวจสอบประเมินโครงสร้างทางขึ้น-ลง และบันได ทางขึ้นด่านเก็บค่าผ่านทางของทางพิเศษบูรพาวิถี ดำเนินการโดยศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ งบประมาณของการทางพิเศษแห่งประเทศไทย (ระยะเวลา เมษายน 2551 – เมษายน 2552)
วิทยากรในหัวข้อวิชา Geotechnical In-situ Testing and monitoring ในการฝึกอบรมหลักสูตร Geotechnical and Pavement Engineering ให้แก่วิศวกรจากประเทศบรูไนดารุสซาลาม จัดโดย กรมทางหลวงร่วมกับสมาคมทางหลวงแห่งประเทศไทย วันที่ 16 กันยายน 2552
วิทยากรรับเชิญรายการหนึ่งในพระราชดำริเรื่อง “เทคโนโลยีเตือนภัยดินถล่ม” ออกอากาศทางช่องโมเดิร์นไนน์ วันที่ 2 ตุลาคม 2552
|
|
|
Selected Publication : |
เอกสารทางวิชาการ |
วรากร ไม้เรียง, สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์ และ อภินิติ โชติสังกาศ. 2550, ดินถล่ม ภัยที่ป้องกันได้. หนังสือเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมพรรษา ๘๐ พรรษา. จัดทำโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมูลนิธิอานันทมหิดล. จำนวน 37 หน้า |
|
บทความวารสารนานาชาติ |
Jotisankasa, A., Coop, M. & Ridley, A. (2007).The development of a suction control system for a triaxial apparatus, Geotechnical Testing Journal, Vol. 30, No 1, ASTM, pp1-7
Jotisankasa, A., Ridley, A., Coop, A. (2007). Collapse behavior of a compacted silty clay in the suction-monitored oedometer apparatus, Journal of Geotechnical and Geoenvironmental Engineering, ASCE, July, pp 867-877
Monroy, R., Jotisankasa, A., Ridley, A., Zdravkovic, L., Coop, M. (2008). Avances en el ensayo de suelos con succión bajo presión atmosférica. Obras y Proyectos, Universidad Católica de la Santísima Concepción (Chile), pp. 5 - 12.
Jotisankasa, A., Coop, M. & Ridley, A. (2009). The mechanical behaviour of an unsaturated compacted silty clay. Geotechnique, 59, No. 5, 415-428.
Jotisankasa, A. and Mairaing, W. (2010). Suction-monitored direct shear testing of residual soils from landslide-prone areas, Journal of Geotechnical and Geoenvironmental Engineering, ASCE, Vol. 136, No. 3, March 1, 2010. |
|
บทความวารสารในประเทศ |
อัคคพัฒน์ สว่างสุรีย์ และ อภินิติ โชติสังกาศ (2552) การวิเคราะห์และประเมินเสถีรยภาพของลาดดินระหว่างฝนตก วารสารทางหลวง ปีที่ 46 ฉบับที่ 2 มีนาคม-เมษายน 2552 หน้า 40-48
อัคคพัฒน์ สว่างสุรีย์, อภินิติ โชติสังกาศ และ ชวลิต จงวัฒนา (2552) แนวทางการป้องกันการกัดเซาะหน้าดินและควบคุมตะกอนดินของลาดคันทางโดยวัสดุเส้นใยธรรมชาติ โยธาสาร ปีที่ 21 ฉบับที่ 6 พฤศจิกายน-ธันวาคม 2552 |
|
บทความการประชุมทางวิชาการระดับนานาชาติ |
Jotisankasa, A. (2002). Stress-strain strength behaviour of a partly saturated pumiceous gravelly sand. Proceedings of the 7th Young Geotechnical Engineering Symposium (ed. F. Bransby) at Dundee University. Scotland.
Nontananandh, S., Thongmit, C., Jotisankasa, A., Suriyavanagul, P. and Chantawarangul, K. (2006). A preliminary study of dispersive soil erosions of reservoirs and road embankments in Kasetsart University Chalermphramiat Sakon Nakhon Province Campus. In the International Symposium on Infrastructure development and the Environment (SIDE 2006), Phillippines.
Jotisankasa, A., Porlila, W., Soralump, S., Mairiang W. (2007). Development of a low cost miniature tensiometer and its applications. Proc. 3rd Asian Conference on Unsaturated Soils (Unsat-Asia 2007), Organized by Geotechnical Research Institute, Hohai University, Nanjing, China, April 21-23, 475-480
Soralump, S & Jotisankasa, A. (2007). Mitigation of Landslide Hazard in Thailand. Proceedings of Expert Symposium, Climate Change Modelling, Impacts & Adaptations and Workshop on Climate Change and Slope stability, National University of Singapore.
Jotisankasa, A., Kulsuwan, B., Toll, D., and Rahardjo, H. (2008) Studies of rainfall-induced landslide in Thailand and Singapore, The First European Conference on Unsaturated Soils (E-UNSAT) , Organized by Durham University and University of Glasglow, 2-4 July, 2008, Durham, UK, pp 901-907
Jotisankasa, A. and Vathananukij, H. (2008). Investigation of soil moisture characteristics of landslide-prone slopes in Thailand. Proc. of the International Conference on Management of Landslide Hazard in the Asia-Pacific Region. Sendai, Japan, November 11-15
Nokkaew, K., Nontananandh, S. and Jotisankasa, A. (2008) “Relationship between the Soil-Water Characteristic Curve and the Unsaturated Shear Strength of a Sandy high Plasticity Clay” The 6th Regional Symposium on Infrastructure Development (RSID6), Bangkok, Thailand, Dec 8th-10th, 2008.
Jotisankasa, A , Mairaing, W, Takahashi, A, Takeyama, T (2009). BEHAVIOUR OF A SOIL SLOPE SUBJECTED TO HEAVY RAINFALL IN THAILAND: MONITORING AND WARNING SYSTEM FOR LANDSLIDES. The 3rd JSPS-DOST International Symposium on Environmental Engineering (Symposium on Harmonizing Infrastructure Development with the Environment). Organized by University of the Philippines Diliman, Tokyo Institute of Technology and Kasetsart University. 9-10 March 2009 the Philippines.
Jotisankasa, A. and Vathananukij, H. & Coop, M. (2009). Soil-water retention curves of some silty soils and their relations to fabrics. Proc. 4th Asia-Pacific Conference on Unsaturated Soils, 23-25 November 2009, Newcastle, Australia
Jotisankasa, A. (2009). Behaviour of a volcanic soil slope subjected to a heavy rainfall in Thailand. Proc.4th International Young Geotechnical Engineers Conference (4iYGEC), ISSMGE, Alexandria, Egypt, 3-6 October 2009. |
|
บทความการประชุมทางวิชาการในประเทศ |
อภินิติ โชติสังกาศ และ วิษณุพงศ์ พ่อลิละ, 2551. การพัฒนาระบบตรวจวัดพฤติกรรมดินถล่ม. การประชุมวิชาการเทคโนโลยี และนวัตกรรมสำหรับการพัฒนาอย่างยั่งยืน, จัดโดย คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 28-29 มกราคม 2551, จำนวน 6 หน้า
อภินิติ โชติสังกาศ และ วิษณุพงศ์ พ่อลิละ, 2551. การพัฒนาเครื่องมือวัดศักย์แรงดูดน้ำในดิน. การประชุมวิชาการครั้งที่ 46 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, จัดโดย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,บางเขน, 29 มกราคม-1 กุมภาพันธ์ 2551, จำนวน 8 หน้า
วศัน สุทธินุ่น และ อภินิติ โชติสังกาศ 2551. การทดสอบกำลังรับแรงเฉือนประสิทธิผลของดินเหนียวอ่อนกรุงเทพฯ โดยการทดสอบ Unconfined Compression Test ชนิดวัดแรงดูด suction. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13, จัดโดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยศรีปทุม ร่วมกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย, 14-16 พฤษภาคม 2551, พัทยา, จำนวน 6 หน้า
อภินิติ โชติสังกาศ และ อัคคพัฒน์ สว่างสุรีย์, 2551, การประยุกต์ใช้ความรู้ทางกลศาสตร์ของดินไม่อิ่มน้ำสำหรับงานเสถียรภาพของลาดดิน, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13, จัดโดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยศรีปทุม ร่วมกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย, 14-16 พฤษภาคม 2551, พัทยา, จำนวน 6 หน้า,
อภินิติ โชติสังกาศ และ สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์, 2551, การตรวจวัดพฤติกรรมการเคลื่อนตัวของลาดบริเวณโครงการพัฒนาดอยตุง, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 13, จัดโดย ภาควิชาวิศวกรรมโยธา มหาวิทยาลัยศรีปทุม ร่วมกับวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย, 14-16 พฤษภาคม 2551, พัทยาจำนวน 6 หน้า
ศิริศักดิ์ จินดาพล, สยาม ยิ้มศิริ, สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์, และ อภินิติ โชติสังกาศ (2550) คุณสมบัติทางกลศาสตร์ของดินที่ถูกปรับปรุงด้วยปูนซีเมนต์ในสภาพแช่น้ำจากการทดสอบแบบแรงอัดไม่มีขอบเขตจำกัดและแบบเฉือนตรง. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 12 จังหวัดพิษณุโลก
Jotisankasa, A., Sawangsuriya, A & Sukolrat, J. (2008) Innovative testing methods for unsaturated soil slopes, The 3rd Seminar on Highway Engineering, Organized by Department of Highways, 5-6 June, 2008, Bangkok, Thailand, pp 475-489
อภินิติ โชติสังกาศ และ ก่อโชค จันทวรางกูร (2543). “การศึกษาเปรียบเทียบแผนภูมิวิเคราะห์เสถียรภาพของความลาด” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 6 จังหวัดชะอำ
Jotisankasa, A. (2006). Importance of unsaturated soil mechanics in geotechnical engineering in Thailand. In the 11th National Convention on Civil Engineering. จัดโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย และ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน, ณ จ. ภูเก็ต, 20-22 เมษายน 2549, จำนวน 6 หน้า
วศัน สุทธินุ่น และ อภินิติ โชติสังกาศ 2552. กำลังรับแรงเฉือนประสิทธิผลของดินเหนียวอ่อนกรุงเทพฯ โดยการทดสอบแรงอัดแบบไร้ขอบเขต และการทดสอบแรงอัดสามแกน เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 47 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เล่มที่ 7 สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์, 17-20 มีนาคม 2552, หน้า 383-390
Jotisankasa, A., Takahashi, A., Takeyama, T. & Mairaing, W. (2009) A STUDY OF DEFORMATION BEHAVIOUR OF AN INSTRUMENTED SLOPE SUBJECT TO RAINFALL NEAR THADAN DAM THAILAND. การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 14 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 13-15 พฤษภาคม 2552 หน้า 141-146
อภินิติ โชติสังกาศ, 2552, ความสำคัญของแรงดันน้ำด้านลบหรือแรงดูดในงานวิศวกรรมปฐพี, การสัมมนาทางวิชาการและการแสดงนิทรรศการ เรื่อง วิศวกรรมปฐพีและฐานราก’ 52, จัดโดย คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, 11-12พฤศจิกายน 2552, หน้า 217-230 |
|
ผลงานเอกสารประกอบการสอน |
อภินิติ โชติสังกาศ (2549) Unsaturated soil Mechanics (กลศาสตร์ของดินไม่อิ่มน้ำ) วิชา 203596 Selected Topics in Civil Engineering จำนวน 3 หน่วยกิต ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จำนวน 142 หน้า |
|
|
|
Awards and Scholarships : |
.ในช่วงการทำงาน |
อาจารย์ที่ปรึกษา โครงการทางวิศวกรรมปฐพี รางวัลดีเด่นอันดับสอง (ระดับปริญญาตรี) เรื่อง ”การศึกษาพฤติกรรมการอุ้มน้ำและกำลังรับแรงเฉือนของดินในพื้นที่เสี่ยงในประเทศไทย เพื่อการเตือนภัยน้ำท่วม-ดินถล่ม” โดย นางสาว ปานชีวัน ฤกษ์สมบูรณ์ ประจำปี พ.ศ. 2551 จัดโดย วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย
รางวัลระดับดีเด่น ผลงานวิจัยสาขา สถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมฯ เรื่อง “การพัฒนาเครื่องมือวัดศักย์แรงดูดน้ำในดิน” จากการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 46 ประจำปี พ.ศ. 2551 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ นายวิษณุพงศ์ พ่อลิละ
บทความดีเด่นในงานประชุมวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 14 พ.ศ. 2552 เรื่อง A STUDY OF DEFORMATION BEHAVIOUR OF AN INSTRUMENTED SLOPE SUBJECT TO RAINFALL NEAR THADAN DAM THAILAND มอบโดย มูลนิธิศาสตราจารย์ ดร.ชัย มุกต์พันธุ์ คณะอนุกรรมการสาขาวิศวกรรมปฐพี วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
รางวัลระดับดีเด่น ผลงานวิจัยสาขา สถาปัตยกรรมศาสตร์และวิศวกรรมฯ เรื่อง “กำลังรับแรงเฉือนประสิทธิผลของดินเหนียวอ่อนกรุงเทพฯ โดยการทดสอบแรงอัดแบบไร้ขอบเขต ชนิดวัดแรงดูด และการทดสอบแรงอัดสามแกน” จากการประชุมทางวิชาการ ครั้งที่ 47 ประจำปี พ.ศ. 2552 ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ร่วมกับ นายวศัน สุทธินุ่น |
|
ในช่วงการศึกษา |
พ.ศ. 2543-48 รับพระราชทานทุนมูลนิธิอานันทมหิดล
พ.ศ. 2548 รางวัล Imperial volunteer centre award จาก มหาวิทยาลัยลอนดอน สำหรับงานอาสาสมัครในชุมชน
พ.ศ. 2541 งดเว้นค่าเล่าเรียน เนื่องจากได้ A ทุกวิชา
พ.ศ. 2540-41 รางวัลเรียนดี บริษัทปูนซีเมนต์ไทยจำกัด มหาชน
พ.ศ. 2541 วงดนตรีชนะเลิศ งานประกวดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
พ.ศ. 2538 ทีมชนะเลิศ Robot Contest มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ |
|
|
|
Course Taught : |
203351 Engineering Geology
203352 Soil Mechanics
203353 Soil Mechanics laboratory
203552 Advaned Soil Mechanics
203554 Engineering Soil Behavior Determination
203596 Unsaturated Soil Behavior
Environmental geotechnics for MSW landfills |
|
|
|
|
|