เข้าสู่ระบบ
 
   
 

ประวัติ

 
     
 

     การพัฒนาฐานข้อมูลชั้นดินทางวิศวกรรมของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เริ่มมีการพัฒนามาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 โดยกำธร ได้รวบรวมข้อมูลเจาะสำรวจชั้นดินจำนวน 416 หลุม บริเวณกรุงเทพฯ กำหนดพิกัดลงบนแผนที่ และสร้างกริดขนาด 6 ตารางกิโลเมตร โดยกำหนดให้มีข้อมูลกระจายตัวอยู่ในกริดอย่างน้อย 1 หลุมเจาะ แต่เนื่องจากการกระจายของหลุมเจาะทั้งหมดภายใน 46 กริด ของพื้นที่ศึกษา มีเพียง 6 กริด ที่ต่อเนื่องกัน (มีข้อมูลรวมกัน 129 หลุม) ที่มีข้อมูลหนาแน่นพอที่จะทำการวิเคราะห์และประมวลผลได้ดังภาพที่ 1 จากนั้นได้พัฒนาโปรแกรมโดยใช้ภาษา Basic ในการวิเคราะห์และประมวลผลชั้นดิน ดังภาพที่ 2 และวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของคุณสมบัติดินต่างๆ แต่เนื่องจากความจำกัดของเทคโนโลยีในช่วงนี้ เช่น ความจุในการเก็บข้อมูล ความเร็วในการประมวลผลข้อมูล เป็นต้น จึงทำให้ระบบฐานข้อมูลยังไม่มีประสิทธิภาพมากนัก ต่อมาเทคโนโลยีทางด้านคอมพิวเตอร์ทั้งด้าน Hardware และ Software มีการพัฒนามากขึ้น

 
     
 

แหล่งที่มาของข้อมูลหลุมเจาะทั้งหมด

 
     
 

     ข้อมูลสำรวจชั้นดินทั้งหมด มีจำนวน 5,020 หลุม แบ่งเป็นข้อมูลเจาะสำรวจแบบฉีดล้าง 4,600 หลุม FVT จำนวน 305 หลุม และ Observation Well จำนวน 115 หลุม

 
 
ชื่อย่อ รายชื่อแหล่งที่มาของข้อมูลหลุมเจาะแบบ Wash Boring จำนวน

GTC

DPT

KU & EIT

GFE

DMR

Geo-Technology Consultants Co., Ltd.

Deparment of Public Works and Town & Country Planning

Kasetsart University and The Engineering Institute of Thailand

Geotechnical & Foundation Engineering Co., Ltd.

Department of Mineral Resources

Total

1,472

1,429

1,408

211

80

4,600

GTC*

Geo-Technology Consultants Co., Ltd.

305

DGR**

Department of Groundwater Resources

115

 
 

* หลุมเจาะแบบ Field Vane Shear Test         ** หลุมเจาะแบบ Observation Well

 
     
 
คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป
คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป
คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป คลิกเพื่อขยายรูป
 
  ตำแหน่งหลุมเจาะทั้งหมดในฐานข้อมูลชั้นดิน  
     
 

ผู้จัดทำ

 
     
 

1. ผศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์

ผู้อำนวยการพัฒนาระบบ

2. รศ.ดร.วรากร ไม้เรียง

ที่ปรึกษาระบบ

3. อาจารย์บรรพต กุลสุวรรณ

ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมปฐพี

4. นายรัฐธรรม อิสโรฬาร

ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมโยธา

5. น.ส.มนันยา จันทศร

ผู้เชี่ยวชาญด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์

6. นายสิริศาสตร์ ยังแสนภู

ผู้เชี่ยวชาญด้านธรณีวิทยา

7. นายเชิดพันธุ์ อมรกุล

ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูลชั้นดิน

8. นายทรงธรรม ประวัติโยธิน

Programmer

9. น.ส.ศิริลักษณ์ ศิริสิงห์

Web Design

 
     
 

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

 
     
  » เชิดพันธุ์ อมรกุล.  2553.  ฐานข้อมูลชั้นดินทางวิศวกรรมบริเวณที่ราบภาคกลางตอนล่างของประเทศไทย.  วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ [ ติดต่อ fengcherd@yahoo.com ]  
     
  » สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์, บรรพต กุลสุวรรณ, วรากร ไม้เรียง และ อดิชาติ สุรินทรด์คำ. 2553. “การพัฒนาฐานข้อมูลดินทางวิศวกรรมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาและบำรุงรักษาโครงสร้างพื้นฐาน : กรณีศึกษาพื้นที่ดินเหนียวอ่อนกรุงเทพฯ” โยธาสาร ฉบับเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2553  
     
 
ติดต่อผู้ดูแลระบบ : นายเชิดพันธุ์ อมรกุล : 0-2579-2265