หน้าหลัก
เบื้องหลักการถ่ายทำ
มาตราฐานอ้างอิง :
  
ASTM D 1556 – 64 (Reapproved 1968)
  
ASTM D 2167 – 66
          การก่อสร้างถนน สนามบิน เขื่อนดิน พื้นที่โรงงาน ฯลฯ จะต้องบดอัดด้วยเครื่องมือต่างๆ ตามชนิดและประเภทของวัสดุที่นำมาใช้ในการก่อสร้าง หลังจากบดอัดได้ที่แล้วก็จะต้องมีการตรวจสอบผลของการบดอัดนั้นว่ามีความแน่นสามารถรับน้ำหนักได้ตามข้อกำหนดที่ได้ออกแบบคำนวณไว้หรือไม่  เช่น งานชั้นรองพื้นทาง (subbase) ชั้นพื้นทาง (base) จะต้องบดอัดให้ได้ 100% Modified AASHO งานชั้นดินเดิม และดินถมจะต้องบดอัดให้ได้ 95% Modified AASHO การบดอัดนี้จะต้องมีการควบคุมความชื้นในดินและพลังงานที่จะใช้ในการบดอัดให้พอเพียงและประหยัด ถ้าจำนวนเที่ยวที่บดอัดมากเกินไปก็จะสิ้นเปลืองทั้งค่าแรงงานและค่าน้ำมันเชื้อเพลิง แต่ถ้าบดอัดน้อยไปก็จะไม่ได้ความแน่นที่ต้องการ จะต้องกลับมาทำงานซ้ำอีก
การบดอัดดินฐานรากเขื่อน
เมนูหลักแบบทดสอบก่อนเรียนบทนำทฤษฎีเครื่องมือและอุปกรณ์วิธีการทดลองการคำนวณผลการทดลองแบบทดสอบหลังเรียน 
เชิดพันธุ์ อมรกุล และ ผศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์
ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก  ภาควิชาวิศวกรรมโยธา   คณะวิศวกรรมศาสตร์   มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์