HomeAbout usNewsPaperPresentationLibraryGraduate School at KU
 
 
 

กรมทรัพยากรธรณี ร่วมกับ

หน่วยวิจัยดินถล่ม ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก  คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

 
จัดการสัมมนา
เรื่อง “การเตือนภัยและการจัดการด้านพิบัติภัยดินถล่มในประเทศไทย”
ภายใต้ งานศึกษาพัฒนาแบบจำลองพลวัตการวิเคราะห์พื้นที่อ่อนไหวต่อการเกิดดินถล่มสำหรับการเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยดินถล่ม
 
วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม 2556 เวลา 8.30-12.00 น.
ณ ห้องลาเวนเดอร์ ชั้น 2 ตึก Convention โรงแรมรามาการ์เด้นส์ ถนนวิภาวดีรังสิต หลักสี่ กรุงเทพฯ
 
กำหนดการ

08:30-09:00

ลงทะเบียนผู้เข้าร่วมสัมมนา

09:00-09:30

พิธีเปิดการสัมมนา
โดย    กล่าวต้อนรับ   โดย นายทินกร  ทาทอง
นักธรณีวิทยาชำนาญการพิเศษ กรมทรัพยากรธรณี


กล่าวรายงาน  โดย รศ.ดร.สุทธิศักดิ์  ศรลัมพ์
หัวหน้าโครงการ/ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยฯ


กล่าวเปิด       นายปราณีต  ร้อยบาง
อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี

09:30-10:45

การจัดการด้านพิบัติภัยดินถล่มและเทคโนโลยีการเตือนภัยดินถล่ม


- การจัดการด้านพิบัติภัยดินถล่ม รวมถึง กฎหมายบังคับใช้พื้นที่
เทคโนโลยีการเตือนภัยดินถล่ม  แบบจำลองแบบละเอียด แบบจำลองภาพรวมทั้งประเทศ
- พิจารณาเลือกชนิดเครื่องมือติดตั้ง
- พิจารณาเลือกพื้นที่ติดตั้งเครื่องมือ
- การวิเคราะห์ข้อมูลการตรวจวัดและการสร้างเกณฑ์การเตือนภัยจากข้อมูล
- นวัตกรรมเครื่องมือเตือนภัยประจำบ้าน


โดย รศ.ดร.สุทธิศักดิ์ ศรลัมพ์
ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมดินถล่ม
ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

10:45-11:00

พักรับประทานอาหารว่าง

11:00-11:30

 

 

โปรแกรมคาดการณ์และเฝ้าระวังภัยดินถล่ม


- เงื่อนไข ข้อกำหนดของการวิเคราะห์
- เทคนิคของการเขียนโปรแกรม
- เวลาที่ใช้ทำการวิเคราะห์โปรแกรม
- ผลลัพธ์ของโปรแกรมและการเผยแพร่


โดย นายทรงธรรม  ประวัติโยธิน
ผู้เชี่ยวชาญด้านการเขียนโปรแกรมฯ
หน่วยวิจัยดินถล่ม ศูนย์วิจัยและพัฒนาวิศวกรรมปฐพีและฐานราก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

11:30-12:00

ตอบข้อซักถามและคำแนะนำ/ ปิดการสัมมนา

12.00-13.00

รับประทานอาหารกลางวัน

 
Download รายละเอียดการจัดสัมมนา